เว็บไซต์ อิมาม อัลฮะซะนัยน์ (อลัยฮิมัสลาม)เพื่อคุณค่าและสารธรรมอิสลาม

มะฟาติฮุลฮายาต หมายเลขที่ 98-99-100 เรื่องการปกป้องร่างกายและขอบเขตต้องห้ามในการสร้างความเสียหายต่อจิตใจ

0 ทัศนะต่างๆ 00.0 / 5

มะฟาติฮุลฮายาต หมายเลขที่ 98-99 เรื่องการปกป้องร่างกายและขอบเขตต้องห้ามในการสร้างความเสียหายต่อจิตใจ


ปัจจัยความป่วยไข้
ยาและการบำบัด
✍️อิมามศอดิก(อลัยฮิสลาม)กล่าวว่า ผู้ใดที่สุขภาพของเขามีชัยเหนือความป่วยไข้ของตน แต่กลับใช้ยาในขณะเดียวกัน และตายเพราะผลนั้น ฉันจะออกห่างจากเขา ณ พระองค์อัลลอฮ [1]
✍️อิมามกาซิม(อลัยฮิสลาม)กล่าวว่า ไม่มียาใด นอกจากความเจ็บป่วยจะถูกขับเคลื่อน ดังนั้น ตราบเท่าที่เป็นไปได้ จงหลีกเลี่ยงการใช้ยา เพราะมันจะมีผลที่ดีต่อร่างกาย[2]
✍️อิมามศอดิก(อลัยฮิสลาม) กล่าวว่า การหลีกเลี่ยงหลังผ่านการป่วยไปเจ็ดวัน เป็นสิ่งไร้ประโยชน์[3]

หมายเลข_99
#การบำบัดที่จำเป็น
✍️รอซูลุลลอฮ (ศอล)กล่าวว่า จงอดทนเพราะแท้จริงอัลลอฮ ไม่ทรงประทานความป่วยใดนอกจากจะมียารักษาสำหรับมัน[4]
✍️อมีรุลมุมีนีน(อลัยฮิสลาม)กล่าวว่า ผู้ใดปิดบังอาการป่วยของตนต่อแพทย์ ผู้นั้นทรยศต่อร่างกายของตน[5]
✍️แน่นอนยิ่ง ดังที่ได้ระบุแล้วว่า การปิดบังอาการป่วย และความเจ็บปวดจากผู้อื่น(ที่ไม่ใช่แพทย์)และการไม่บ่นก่นด่า คือ คลังหนึ่งของสวรรค์[6]
#หมายเลข_100
✍️อิมามศอดิก(อลัยฮิสลาม)กล่าวว่า หนึ่งในศาสดาเคยป่วย และพูดว่า ฉันจะไม่อดทนจนกว่าอาการป่วยของฉันจะได้รับการรักษา พระองค์อัลลอฮ จึงงวิวรณ์แก่เขา ด้วยความว่า ข้าจะไม่รักษาเจ้าจนกว่าเจ้าจะอดทน เพราะแท้จริง การเยียวยามาจากข้า
������ตัวบท
[1] . مَنْ ظَهَرَتْ صِحَّتُهُ عَلَی سُقْمِهِ فَیعَالِجُ بِشَىْ‏ءٍ فَمَاتَ فَأَنَا إِلَی اللَّهِ مِنْهُ بَرِىءٌ‏ (كتاب الخصال، ص26).
[2] . لَیسَ مِنْ دَوَاءٍ إِلاَّ وَ هُوَ یهَیجُ دَاءً وَ لَیسَ شَىْ‏ءٌ فِى الْبَدَنِ أَنْفَعَ مِنْ إِمْسَاكِ الْیدِ إِلاَّ عَمَّا یحْتَاجُ إِلَیهِ (الكافى، ج8، ص273).
[3]. لا تَنْفَعُ الْحِمْیةُ لِمَرِیضٍ بَعْدَ سَبْعَةِ أَیامٍ (الكافى، ج8، ص281)
[4] . تَدَاوَوْا، فَإِنَّ اللَّهَ عَزَّ وَ جَلَّ لَمْ ینْزِلْ دَاءً إِلاَّ وَ أَنْزَلَ لَهُ شِفَاءً (مكارم الاخلاق، ص362).
[5] . مَنْ كَتَمَ الأَطِبَّاءَ مَرَضَهُ خَانَ بَدَنَهُ (غرر الحكم، ص484).
[6] . قَالَ النَّبِیB: أَرْبَعٌ مِنْ كُنُوزِ الْجَنَّةِ: كِتْمَانُ الْفَاقَةِ وَ كِتْمَانُ الصَّدَقَةِ وَ كِتْمَانُ الْمُصِیبَةِ وَ كِتْمَانُ الْوَجَعِ (الدعوات، ص164؛ مستدرك الوسائل، ج2، ص68)
[7] . إِنَّ نَبِیاً مِنَ الأَنْبِیاءِ مَرِضَ، فَقَالَ: لا أَتَدَاوَی حَتَّی یكُونَ الَّذِى أَمْرَضَنِى هُوَ الَّذِى یشْفِینِى، فَأَوْحَی اللَّهُ إِلَیهِ: لا أَشْفِیكَ حَتَّی تَتَدَاوَی، فَإِنَّ الشِّفَاءَ مِنِّى (مكارم الاخلاق، ص362؛ وسائل الشیعة، ج2، ص409).
อ้างอิง ������ ,114,مفاتیح الحیات ص 115.

กรุณาแสดงความคิดเห็นด้วย

ความคิดเห็นของผู้ใช้งานทั้งหลาย

ไม่่มีความคิดเห็น
*
*

เว็บไซต์ อิมาม อัลฮะซะนัยน์ (อลัยฮิมัสลาม)เพื่อคุณค่าและสารธรรมอิสลาม