เว็บไซต์ อิมาม อัลฮะซะนัยน์ (อลัยฮิมัสลาม)เพื่อคุณค่าและสารธรรมอิสลาม

กรณีศึกษา

ฮิญาบเป็นบทบัญญัติด้านปัจเจกหรือด้านสังคม?

ฮิญาบเป็นบทบัญญัติด้านปัจเจกหรือด้านสังคม?

ฮิญาบเป็นบทบัญญัติด้านปัจเจกหรือด้านสังคม? อิมรอน พิชัยรัตน์/เรียบเรียง บางคนเข้าใจว่า ฮิญาบ เป็นหน้าที่ส่วนตัวบุคคล หมายความว่าพระเจ้าเพียงประสงค์ให้สตรีมุสลิมสวมฮิญาบเพื่อแสดงความเป็นบ่าวที่ภักดีของเธอเท่านั้น? ในลักษณะนี้ หากสตรีมุสลิมละเลยบทบัญญัตินี้ เท่ากับว่าเธอได้ละทิ้งสิ่งที่เป็นวาญิบเท่านั้น ไม่มีอะไรมากไปกว่านั้น และเธอจะได้รับโทษในชีวิตหลังความตายเท่านั้น และเธอไม่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมแต่อย่างใด หรือว่านอกเหนือจากบทบัญญัตินี้จะเป็นหน้าที่ส่วนตัวแล้วสังคมอิสลามก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับบทบัญญัตินี้ด้วยเช่นกัน? ในลักษณะที่หากสตรีมุสลิมฝ่าฝืนคำสั่งทางสังคมนี้อย่างเปิดเผยในที่สาธารณะ สังคมมีสิทธิที่จะประกาศความผิดสำหรับเธอและรัฐบาลอิสลามมีหน้าที่บังคับให้เธอปฏิบัติตามพันธะทางสังคมนี้  คำว่า قُل มีความหมายว่า "จงพูด" ถูกกล่าวซ้ำมากกว่าสามร้อยครั้งในอัลกุรอาน เนื้อหาสาระธรรมที่ศาสดาของพระเจ้าได้รับมอบหมายให้ประกาศและบอกผู้อื่นด้วยคำสั่งของ "قُل" ครอบคลุมสามประเด็นหลักของศาสนา เป็นไปได้ว่าในโองการหนึ่ง มีการกล่าวถึงทั้งสามประเด็นไว้ กล่าวคือ ความเชื่อ จริยธรรม และบทบัญญัติ เอาไว้ เช่นโองการที่ 151 ของซูเราะฮ์อัลอันอาม: قُلْ تَعَالَوْا أَتْلُ مَا حَرَّمَ رَبُّكُمْ عَلَيْكُمْ أَلَّا تُشْرِكُوا بِهِ شَيْئًا وَبِالْوَالِدَيْنِ إِحْسَانًا وَلَا تَقْتُلُوا أَوْلَادَكُمْ مِنْ إِمْلَاقٍ نَحْنُ نَرْزُقُكُمْ وَإِيَّاهُمْ وَلَا تَقْرَبُوا الْفَوَاحِشَ مَا ظَهَرَ مِنْهَا وَمَا بَطَنَ وَلَا تَقْتُلُوا النَّفْسَ الَّتِي حَرَّمَ اللَّهُ إِلَّا بِالْحَقِّ ذَلِكُمْ وَصَّاكُمْ بِهِ لَعَلَّكُمْ تَعْقِلُونَ จงกล่าวเถิด(มุฮัมหมัด)ว่าท่านทั้งหลายจงมากันเถิด ฉันจะอ่านให้ฟังสิ่งที่พระผู้อภิบาลของพวกท่านได้ห้ามไว้แก่พวกท่านคือ พวกเจ้าอย่าให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดเป็นภาคีกับพระองค์ และจงทำดีต่อผู้บังเกิดเกล้าทั้งสองจริง ๆ และอย่าฆ่าลูกของพวกเจ้า เนื่องจากความจน เราเป็นผู้ให้ปัจจัยยังชีพแก่พวกเจ้า และแก่พวกเขา และจงอย่าเข้าใกล้บรรดาสิ่งชั่วช้า ทั้งที่เปิดเผยและที่ปกปิด และอย่าฆ่าชีวิต ที่อัลลอฮ์ทรงห้ามไว้ นอกจากด้วยสิทธิอันชอบธรรมเท่านั้น นั่นแหละที่พระองค์ได้ทรงสั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะใช้ปัญญา หรือว่าการคำบัญชาให้พูดเรื่องเกี่ยวกับศาสนาถูกกล่าวไว้ต่างหากในโองการเฉพาะ 1. คำสั่งให้พูดเกี่ยวกับความเชื่อ: เช่นโองการในซูเราะฮ์เตาฮีดที่เริ่มต้นด้วย قُل หรือโองการที่ 84 ของ อาลิอิมรอน قُلْ آمَنَّا بِاللَّهِ وَمَا أُنْزِلَ عَلَيْنَا وَمَا أُنْزِلَ عَلَى إِبْرَاهِيمَ وَإِسْمَاعِيلَ وَإِسْحَاقَ وَيَعْقُوبَ وَالْأَسْبَاطِ وَمَا أُوتِيَ مُوسَى وَعِيسَى وَالنَّبِيُّونَ مِنْ رَبِّهِمْ لَا نُفَرِّقُ بَيْنَ أَحَدٍ مِنْهُمْ وَنَحْنُ لَهُ مُسْلِمُونَ จงกล่าวเถิด (มุฮัมหมัด) ว่า เราได้ศรัทธาต่ออัลลอฮ์แล้วและได้ศรัทธาต่อสิ่งที่ถูกประทานแก่เรา และสิ่งที่ถูกประทานแก่อิบรอฮีมและอิสมาอีล และอิสฮาก และยะกูบและบรรดาผู้สืบเชื้อสาย(จากยะอ์กูบ) และศรัทธาต่อสิ่งที่มูซาและอีซา และศาสดาทั้งหลายได้รับจากพระผู้อภิบาลของพวกเขา โดยที่เราจะไม่แยกระหว่างคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกเขา และพวกเรานั้นเป็นผู้ที่นอบน้อมต่อพระองค์. 2.คำสั่งให้พูดเกี่ยวกับเรื่องศีลธรรม: เช่นโองการที่หกของซูเราะฮ์อัลอันอาม وَإِذَا جَاءَكَ الَّذِينَ يُؤْمِنُونَ بِآيَاتِنَا فَقُلْ سَلَامٌ عَلَيْكُمْ كَتَبَ رَبُّكُمْ عَلَى نَفْسِهِ الرَّحْمَةَ أَنَّهُ مَنْ عَمِلَ مِنْكُمْ سُوءًا بِجَهَالَةٍ ثُمَّ تَابَ مِنْ بَعْدِهِ وَأَصْلَحَ فَأَنَّهُ غَفُورٌ رَحِيمٌ และเมื่อบรรดาผู้ศรัทธาต่อสัญญานทั้งหลายของเราได้มาหาเจ้า(มุฮัมหมัด) ก็จงกล่าวคำว่า สันติสุขจะประสบแก่พวกท่าน พระผู้อภิบาลของพวกเจ้าทรงลิขิตความการุณย์ไว้ที่พระองค์ว่า บุคคลใดในหมู่พวกเจ้ากระทำสิ่งชั่วร้ายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ แต่แล้วหลังจากนั้นเขาได้กลับตัวกลับใจและแก้ไข แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงเปี่ยมไปด้วยการให้อภัย ผู้ทรงกรุณาเสมอ 3. คำสั่งให้พูดเกี่ยวกับบทบัญญัติ: เช่นเดียวกับหลาย ๆ โองการของซูเราะฮ์อันนิซาที่กล่าวถึงมรดกหรือบทบัญญัติในโองการที่สี่ ซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่สะอาดและการล่าสุนัขซึ่งกล่าวว่า: يَسْأَلُونَكَ مَاذَا أُحِلَّ لَهُمْ قُلْ أُحِلَّ لَكُمُ الطَّيِّبَاتُ وَمَا عَلَّمْتُمْ مِنَ الْجَوَارِحِ مُكَلِّبِينَ تُعَلِّمُونَهُنَّ مِمَّا عَلَّمَكُمُ اللَّهُ فَكُلُوا مِمَّا أَمْسَكْنَ عَلَيْكُمْ وَاذْكُرُوا اسْمَ اللَّهِ عَلَيْهِ وَاتَّقُوا اللَّهَ إِنَّ اللَّهَ سَرِيعُ الْحِسَابِ

รายละเอียด

“รัฐบาลอิสลาม” ข้อพิสูจน์ บทวิพากษ์ และเหตุผล

“รัฐบาลอิสลาม” ข้อพิสูจน์ บทวิพากษ์ และเหตุผล “รัฐบาลอิสลาม” ข้อพิสูจน์ บทวิพากษ์ และเหตุผล

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม ตอนที่ 10

สีสันแห่งความยุติธรรม ตอนที่ 10 สีสันแห่งความยุติธรรม ตอนที่ 10

รายละเอียด

“ความชอบธรรม” ในรัฐศาสตร์อิสลาม

“ความชอบธรรม” ในรัฐศาสตร์อิสลาม “ความชอบธรรม” ในรัฐศาสตร์อิสลาม

รายละเอียด

นิยามของ “ปรัชญาการเมือง”

นิยามของ “ปรัชญาการเมือง” นิยามของ “ปรัชญาการเมือง”

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 7)

สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 7) สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 7)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 8)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 8) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 8)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 9)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 9) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 9)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 4)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 4) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 4)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 5)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 5) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 5)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 6)

สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 6) สีสันแห่งความยุติธรรม ( ตอนที่ 6)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 1)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 1) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 1)

รายละเอียด

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 2)

สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 2) สีสันแห่งความยุติธรรม (ตอนที่ 2)

รายละเอียด

อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 1)

อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 1) อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 1)

รายละเอียด

อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 2)

อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 2) อิสลามกับประชาธิปไตย (ตอนที่ 2)

รายละเอียด

ความสัมพันธ์ระหว่างนมาซกับวันกิยามัต

ความสัมพันธ์ระหว่างนมาซกับวันกิยามัต ความสัมพันธ์ระหว่างนมาซกับวันกิยามัต

รายละเอียด

นมาซกับการไถ่บาปเล็ก

นมาซกับการไถ่บาปเล็ก นมาซกับการไถ่บาปเล็ก

รายละเอียด

ความเป็นมาและความสำคัญของการทำกุรบาน

ความเป็นมาและความสำคัญของการทำกุรบาน ความเป็นมาและความสำคัญของการทำกุรบาน

รายละเอียด

อะไรคือความหมายของ “วันต่าง ๆ ที่ยิ่งใหญ่”

อะไรคือความหมายของ “วันต่าง ๆ ที่ยิ่งใหญ่” อะไรคือความหมายของ “วันต่าง ๆ ที่ยิ่งใหญ่”

รายละเอียด

ปรัชญาฮัจญ์ กับความเป็นเอกภาพโลกมุสลิม

ปรัชญาฮัจญ์ กับความเป็นเอกภาพโลกมุสลิม ปรัชญาฮัจญ์ กับความเป็นเอกภาพโลกมุสลิม

รายละเอียด

กรุณาแสดงความคิดเห็นด้วย

ความคิดเห็นของผู้ใช้งานทั้งหลาย

ไม่่มีความคิดเห็น
*
*

เว็บไซต์ อิมาม อัลฮะซะนัยน์ (อลัยฮิมัสลาม)เพื่อคุณค่าและสารธรรมอิสลาม